Load cell Strain Gauge & Weighting Scale

อัพเดทล่าสุด: 15 พ.ย. 2024
1041 ผู้เข้าชม
Load cell Strain Gauge &  Weighting Scale

Load cell เป็น  Transducer ชนิดหนึ่งใช้ตรวจวัดแรงตึงเครียดของวัตถุ หรือน้ำหนักที่มากระทำกับตัว Loadcell แล้วแปลงแรงตึงเครียดนั้นให้ออกมาในรูปแบบของความต้านทาน (Ohm) โดยส่วนใหญ่จะใช้วงจร Wheat Stone Bridge (Strain Gauge) ในการแปลงจากความต้านทานให้ออกมาเป็นแรงดัน Vdc ในระดับของ micro Volt - milli Volt  ส่วนมากจะเป็นแบบ 2mV/V หรือ 3mV/V (DC) แรงดัน mV ที่ได้ออกมานั้นจะมีระดับตามแรงดันกระตุ้น (Exciter) ที่ป้อนให้กับ Load cell กับ Spec ของตัว Load cell นั้นๆ
ในการใช้งานจริงนั้นแรงดันกระตุ้น(Exciter)นั้นโดยปกติจะนิยมใช้ 5 Vdc, 12 Vdc เนื่องจากหาง่ายตามท้องตลาด แต่ถ้าเราใช้ Weighting Indicator เพื่อรับค่าน้ำหนัก ก็จะมี Exciter มาให้เลยอาจจะเป็น 5 Vdc หรือ 10 Vdc เพื่อความสะดวกในการใช้งาน
เนื่องจาก Loadcell เป็นเหมือน Sensor ที่วัดค่าน้ำหนักชนิดหนึ่ง ดังนั้นค่าที่ส่งออกมา  จึงต้องมีตัวหน้าจอหรือ display มาเชื่อมต่อ และนำค่าที่วัดได้ไปโชว์ให้เห็นเป็นตัวเลข โดยการเชื่อมต่ออาจจะใช้เป็น Indicator (EP3101-K) , Score board , PLC Module Weighting ( XD-E2WT-A) เป็นต้นซึ่ง Loadcell แบ่งตามประเภทการใช้งาน ที่แตกต่างกันออกไป  ในที่นี้พูดถึง Load cell Strain Gauge   
ก็จะถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภท 
แบบที่ใช้แรงกด 
แบบที่ใช้แรงดึง    
                       
                               
 

ชนิด Shear Beam หรือ Single point ใช้งานน้ำหนักทั่วไปเช่น อาหาร,คน,สัตว์             

                  
     

ชนิด S type / S-Beam    ใช้กับงานที่ห้อยหรือแขวนเช่น เครน,รอก


ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน Load cell Strain Gauge & Weighting Scale 



 

                                                                                                

บทความที่เกี่ยวข้อง
หลักการทำงานการสื่อสาร RS232 และ RS485
หลักการทำงานของ RS232มาตรฐาน RS232 เป็นมาตรฐานที่รับ/ส่งข้อมูลแบบ Full duplex คือสามารถรับและส่งข้อมูลได้พร้อมกันทั้งคู่ในเวลาเดียวกัน โดยการรับ/ส่งข้อมูลนั้นจะใช้สายไฟทั้งหมด 3 เส้น
15 พ.ย. 2024
Cloud data Center Haiwell
เมื่อก่อนในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆ ให้เชื่อมต่อและสื่อสารกันได้นั้น หลายๆท่านคงคิดว่า คงมีแต่การเชื่อมต่อผ่านสายสัญญาณต่างๆ โดยผ่าน พอร์ตอนุกรม หรือ Serial port เท่านั้น ไม่ว่าจะเป็นมาตรฐาน RS-232 , RS-485, RS-422  ก็สามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆ และสื่อสารกันได้ โดยผ่านสายสัญญาณ แต่การสื่อสารที่กล่าวมาทั้งหมดนั้นจะมีข้อจำกัดคือ " ระยะห่างระหว่างอุปกรณ์ "
15 พ.ย. 2024
การเลือกใช้งาน Inverter (VFD) ควบคุม Induction Motor เบื้องต้น
Inverter คืออุปกรณ์ ที่ใช้ควบคุมหรือปรับลดความเร็วมอเตอร์AC 3 Phase ชนิดแม่เหล็กเหนี่ยวนำ (Induction Motor 3Phase) การใช้งานหลักๆ ก็คือ start stop มอเตอร์, ปรับลดความเร็วมอเตอร์(0-50Hz or 0-100%), ปรับทิศทางหมุนซ้าย ขวาของมอเตอร์ (Forward -Reverse), และมีบางรุ่น ใช้ควบคุมแรงดันน้ำของปั๊มน้ำ(AC 3 Phase) ได้ด้วยระบบ PID Controller เป็นต้น สามารถปรับตั้งค่า ประยุกต์การใช้งานได้หลากหลาย เชื่อมต่อข้อมูลเพื่อควบคุมความเร็ว และทิศทางผ่าน PLC หรืออุปกรณ์อื่นๆ
15 พ.ย. 2024
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ นโยบายคุกกี้
เปรียบเทียบสินค้า
0/4
ลบทั้งหมด
เปรียบเทียบ
Powered By MakeWebEasy Logo MakeWebEasy